วันพุธที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2556

การสืบค้นข้อมูลบน Google มีกี่ปรพเภทอะไรบ้าง


การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต        
ในโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหาข้อมูลจำนวนมากมายอย่างนี้เราไม่อาจจะคลิกเพื่อค้นหาข้อมูลพบได้ง่ายๆ  จำเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหาที่เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลมีมากมายหลายที่ทั้งของคนไทยและ   ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ การที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจึงต้องพึ่งพา Search Engine Site ซึ่งจะทำหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน คำหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กำหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที
การค้นหาข้อมูลมีกี่วิธี ?
1. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory
2. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine
การค้นหาในรูปแบบ Index Directory               วิธีการค้นหาข้อมูลแบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกว่าการค้นหาข้อมูลด้วย วิธีของ Search Engine โดยมันจะถูกคัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆออก เป็นประเภท สำหรับวิธีใช้งาน คุณสามารถที่จะ Click เลือกข้อมูลที่ต้องการจะดูได้เลยใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลงมาอีกระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกเยอะแค่ไหนอันนี้ก็ขึ้นอยู่กับขนาดของฐานข้อมูลใน Index ว่าในแต่ละประเภท จัดรวบรวมเก็บเอาไว้มากน้อยเพียงใด เมื่อคุณเข้าไปถึงประเภทย่อยที่คุณสนใจแล้ว ที่เว็บเพจจะแสดงรายชื่อของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ ประเภทของข้อมูลนั้นๆออกมา หากคุณคิดว่าเอกสารใดสนใจหรือต้องการอยากที่จะดู สามารถ Click ลงไปยัง Link เพื่อขอเชื่อต่อทางไซต์ก็จะนำเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมาแสดงผลทันที นอกเหนือไปจากนี้ ไซต์ที่แสดงออกมานั้นทางผู้ให้บริการยังได้เรียบเรียงโดยนำเอา Site ที่มีความเกี่ยว ข้องมากที่สุดเอามาไว้ตอนบนสุดของรายชื่อที่แสดง
การค้นหาในรูปแบบ Search Engine
              วิธีการอีกอย่างที่นิยมใช้การค้นหาข้อมูลคือการใช้ Search Engine ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า 70% จะใช้วิธีการค้นหาแบบนี้ หลักการทำงานของ Search Engine จะแตกต่างจากการใช้ Indexลักษณะของมันจะเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่มหาศาลที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป บน Internet ไม่มีการแสดงข้อมูลออกมาเป็นลำดับขั้นของความสำคัญ การใช้งานจะเหมือนการสืบค้นฐานข้อมูล อื่นๆคือ คุณจะต้องพิมพ์คำสำคัญ (Keyword) ซึ่งเป็นการอธิบายถึงข้อมูลที่คุณต้องการจะเข้าไป ค้นหานั้นๆเข้าไป จากนั้น Search Engine ก็จะแสดงข้อมูลและ Site ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา
 ข้อแตกต่างระหว่าง Index และ Search Engine                คำตอบก็ คือวิธีในการค้นหาข้อมูลแบบ Index เค้าจะใช้คนเป็นผู้จัดรวบรวมและทำระบบฐานข้อมูลขึ้นมา ส่วนแบบ Search Engine นั้นระบบฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้างโดยใช้ Software ที่มี หน้าที่เกี่ยวกับงานทางด้านนี้โดยเฉพาะมาเป็นตัวควบคุมและจัดการ ซึ่งเจ้า Software ตัวนี้จะมี ชื่อเรียกว่า Spiders การทำงานข้องมันจะใช้วิธีการเดินลัดเลาะไปตามเครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยงถึง กันอยู่เต็มไปหมดใน Internet เพื่อค้นหา Website ที่เกิดขึ้นมาใหม่ๆ รวมทั้งยังสามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ ข้อมูลใน Site เดิมที่มีอยู่ ว่าที่ใดถูกอัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะนำเอาข้อมูลทั้งหมดที่สำรวจเข้ามา ได้เก็บใส่เข้าไปในฐานข้อมูลของตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการประเภทนี้เช่น Excite , Lycos Infoserch เป็นต้น การค้นหาด้วยวิธี Search Engine นั้นมักจะได้ผลลัพธ์ออกมากว้างๆชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก บางครั้งข้อมูลที่ ค้นหามาได้อาจมีถึงเป็นร้อยเป็นพัน Site แล้วมีใครบ้างหละที่อยากจะมานั้นค้นหาและอ่านดูที่จะเพจ ซึ่งคง ต้องเสียเวลาเป็นวันๆแน่ ซึ่งก็ไม่รับรองด้วยว่าคุณจะได้ข้อมูลที่คุณต้องการหรือไม่ ดังนั้นจึงมีหลักในการค้น หา เพื่อให้ได้ข้อมูลใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งจะขอกล่าวในตอนหลัง
 

E office คืออะไร มีความเกียวข้องอะไรกับระบบ ois



E- Office  คือ การนำเอา ข้อมูล ที่ มีอยู่ ใน Server ที่ใช้งานปัจจุบัน  นำมาจัดเลือกข้อมูล ที่ต้องการ ไม่ว่าจะเป็น เอกสาร  Word, Excel ,Powerpoint  ,PDF ,JPG ,BMP  ฯลฯ  นำมา Share ข้อมูล ให้อยู่ในระบบของ Web Server  และระบบการกำหนด รหัสผ่าน ในการเข้าถึงข้อมูล ที่ต้องการ โดยการกำหนด User และ Password    เพื่อให้สามารถใช้งาน  ข้อมูล ต่าง ผ่านระบบ Internet ( Internet Explorer ) ใช้งานได้ ทั่วทุกที่ เพื่อไม่ให้ขาดข้อมูล หรือเอกสาร สำคัญๆ  ณ ในเวลานั้น
ในปัจจุบัน ดูเหมือนกับไม่ใช่เรื่องที่เกิดขึ้นได้จริง ๆ แตกต่างจากสำนักงานที่ใช้เพียงเครื่องจักรกล เมื่อหลายปีก่อน ซึ่งเครื่องพิมพ์ดีด, เครื่องยนต์ กลไล และ ระบบไปรษณีย์ เป็นความหมายหลักของการติดต่อสื่อสาร ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีเรื่องน่าทึ่งที่ยังรอคอยเราอยู่ เรากำลังจะได้เริ่มเห็นบทบาทของ บริษัทเสมือนจริง ซึ่งสามารถทำให้ เราทำงานได้ในทุกแห่ง ปราศจากข้อจำกัดด้านพื้นที่คุณสมบัติของระบบ E-Office
รันอยู่ในระบบ Web Server   และเครื่องของคุณเอง 
การ Download ข้อมูลอย่างรวดเร็ว
รองรับเอกสาร doc ,xls ,ppt ,jpg ,bmp ,pdf    ( และสามารถดูตัวอย่างของเอกสารได้ ใน doc ,xls ,pdf)
มีระบบการป้องการเอกสาร โดยการกำหนด รหัสผ่าน
มีระบบ User และ Password
สามารถ สร้าง Slide Show ดูได้  ในรูปแบบของ jpg  file
ใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยาก
และอื่นๆ อีกมากมาย
ระบบสารสนเทศสำนักงาน (  E Office Information System)
หรือที่เรียกว่า OIS หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้น เพื่อช่วยให้
การทำงานในสำนักงานมีประสิทธิภาพ โดย (OIS ) จะประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีเครื่องใช้สำนักงานที่ถูกออกแบบให้ปฏิบัติงานร่วมกัน เพื่อให้การปฏิบัติงานในสำนักงานเกิดผลสูงสุด หรือเราสามารถกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ระบบสารสนเทศสำนักงานมีวัตถุประสงค์ เพื่อที่จะอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสารระหว่างพนักงานในองค์การเดี่ยวกัน และระหว่างองค์กร รวมทั้ง การติดต่อกับสิ่งแวดล้อมภายนอก


http://view62-wipada.blogspot.com/2011/09/e-office.html

วันอังคารที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2556

จงบอกความหมายของระบบTPS MRS DSS

1. ประโยชน์ที่ได้จากการจัดการทรัพยากรสารสนเทศคือ
  1. รวบรวมข้อมูลจากภายในและภายนอกที่มีความจำเป็นต่อหน่วยงาน
  2. ประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่มีประโยชน์นำไปใช้งานได้
  3. มีระบบการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ สะดวกต่อการค้นหาและนำไปใช้
  4. ปรับปรุงข้อมูลให้อยู่ในสภาพที่ถูกต้อง ทันสมัยอยู่เสมอ
   ประโยชน์ที่ได้จากระบบสารสนเทศที่มีต่อการบริหารงานในองค์กร คือ
  1. เพื่อการวางแผน กำหนดเป้าหมายและนโยบายในการบริหารองค์กร
  2. สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
  3. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของบุคลากรในองค์กร
  4. ช่วยให้การทำงานรวดเร็ว ถูกต้อง การบริหารงานในองค์กรมีประสิทธิภาพ
  5. ใช้ควบคุมระบบการทำงานในองค์กรให้ดำเนินไปตามนโยบายที่กำหนดไว้
  6. องค์กรมีมาตรฐานและคุณภาพในการดำเนินงาน ทำให้ได้รับความเชื่อถือ
  7. สร้างโอกาสในการลงทุน ทำให้มีการขยายองค์กรให้เจริญเติบโตยิ่งขึ้น
  8. สามารถแข่งขันกับองค์กรอื่น ๆ ได้
2.  TPS
1) การจัดกลุ่มของข้อมูล (Classification) คือ การจัดกลุ่มข้อมูลลักษณะเหมือนกันไว้ด้วยกัน
2) การคิดคำนวณ (Calculation) การคิดคำนวณโดยใช้วิธีการคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ เช่น การคำนวณภาษีขายทั้งหมดที่ต้องจ่ายในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา
3) การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting) การจัดเรียงข้อมูลเพื่อทำให้การประมวลผลง่ายขึ้น เช่น การจัดเรียง invoices ตามรหัสไปรษณีย์เพื่อให้การจัดส่งเร็วยิ่งขึ้น
4) การสรุปข้อมูล (Summarizing) เป็นการลดขนาดของข้อมูลให้เล็กหรือกะทัดรัดขึ้น เช่น การคำนวณเกรดเฉลี่ยของนักศึกษาแต่ละคน
5) การเก็บ (Storage) การบันทึกเหตุการณ์ที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน อาจจำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลไว้ โดยเฉพาะข้อมูลบางประเภทที่จำเป็นต้องเก็บรักษาไว้ตามกฎหมาย ที่จริงแล้ว TPS เกี่ยวข้องกับงานทุกระดับในองค์การ แต่งานส่วนใหญ่ของ TPS จะเกิดขึ้นในระดับปฏิบัติการมากกว่า แม้ว่า TPS จะจำเป็นในการปฏิบัติงานในองค์การแต่ระบบ TPS ก็ไม่เพียงพอในการสนับสนุนในการตัดสินใจของผู้บริหาร ดังนั้นองค์การจึงจำเป็นต้องมีระบบอื่นสำหรับช่วยผู้บริหารด้วย ดังจะกล่าวต่อไป

ลักษณะสำคัญของระบบสารสนเทศแบบ TPS

        ลักษณะที่สำคัญของระบบ TPS มีดังนี้ (Turban et al.,2001:277)
•  มีการประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก
•  แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายในและผลที่ได้เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้ภายในองค์การเป็นหลัก อย่างไรก็ตามในปัจจุบันหุ้นส่วนทางการค้าอาจจะมีส่วนในการป้อนข้อมูลและอนุญาตให้หน่วยงานที่เป็นหุ้นส่วนใช้ผลที่ได้จาก TPS โดยตรง
•  กระบวนการประมวลผลข้อมูลมีการดำเนินการเป็นประจำ เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกสองสัปดาห์
•  มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมูลจำนวนมาก
•  มีการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว เนื่องจากมีปริมาณข้อมูลจำนวนมาก
•  TPS จะคอยติดตามและรวบรวมข้อมูลภายหลังที่ผลิตข้อมูลออกมาแล้ว
•  ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปและที่ผลิตออกมามีลักษณะมีโครงสร้างที่ชัดเจน (structured data)
•  ความซับซ้อนในการคิดคำนวณมีน้อย
•  มีความแม่นยำค่อนข้างสูง การรักษาความปลอดภัย ตลอดจนการรักษาข้อมูลส่วนบุคคลมีความสำคัญเกี่ยวข้องโดยตรงกับ TPS
•  ต้องมีการประมวลผลที่มีความน่าเชื่อถือสูง

กระบวนการของ TPS

        กระบวนการประมวลข้อมูลของ TPS มี 3 วิธี คือ (Stair & Reynolds, 1999)
1) Batch processing การประมวลผลเป็นชุดโดยการรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นและรวมไว้เป็นกลุ่มหรือเป็นชุด (batch) เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง หรือจัดลำดับให้เรียบร้อยก่อนที่จะส่งไปประมวลผล โดยการประมวลผลนี้จะกระทำเป็นระยะๆ (อาจจะทำทุกคืน ทุก 2-3 วัน หรือทุกสัปดาห์)
2) Online processing คือ ข้อมูลจะได้รับการประมวลผลและทำให้เป็นเอาท์พุททันทีที่มีการป้อนข้อมูลของธุรกรรมเกิดขึ้น เช่น การเบิกเงินจากตู้ ATM จะประมวลผลและดำเนินการทันที เมื่อมีลูกค้าใส่รหัสและป้อนข้อมูลและคำสั่งเข้าไปในเครื่อง
3) Hybrid systems เป็นวิธีการผสมผสานแบบที่ 1) และ2) โดยอาจมีการรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทันทีแต่การประมวลผลจะทำในช่วงกระยะเวลาที่กำหนด เช่น แคชเชียร์ที่ป้อนข้อมูล การซื้อขายจากลูกค้าเข้าคอมพิวเตอร์ ณ จุดขายของ แต่การประมวลผลข้อมูลจากแคชเชียร์ทุกคนอาจจะทำหลังจากนั้น (เช่น หลังเลิกงาน)
MRS
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS : Management Information Systems)
เป็นระบบที่ช่วยในการเตรียมรายงานเพื่อให้ผู้บริหารระดับต่าง ๆ ใช้ในการควบคุมการปฏิบัติงาน ผู้บริหารสามารถใช้สารสนเทศที่ได้จัดการกับปัญหาแบบโครงสร้าง เช่น ใช้ในการวิเคราะห์ความผิดพลาด ความก้าวหน้า หรือข้อบกพร่องในการทำงานรายงานส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของรายงานสรุป (Summary Report) จากการปฏิบัติงานประจำ เป็นงานที่ได้รับการส่งต่อจากงาน TPS คือ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผลเพื่อกลั่นกรองข้อมูลที่มีอยู่ในระบบให้สามารถใช้ปรโยชน์ได้เพื่อเสนอต่อผู้บริหารในระดับต่อไป คำว่า MIS บางครั้งจะใช้คำว่า IRS (Information Reporting Systems) หรือ MRS (Management Reporting Systems) แทนความแตกต่างระหว่าง ระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการ (MIS)และ ระบบประมวลผลรายการ (TPS) มีหลายประการ TPS ใช้แฟ้มข้อมูลแยกกันเนื่องจากการทำงานแยกกันในแต่ละฝ่าย เช่น ทำหน้าที่ เกี่ยวกับการรับใบสั่งสินค้าจากลูกค้า ประมวลรายการสินค้า บันทึกรายการขาย ดูแลการส่งสินค้า ควบคุมคลังสินค้า และการบัญชีMIS จะใช้ฐานข้อมูลร่วมกันและมีการรวบรวมข้อมูลจากหลาย ๆ ฝ่ายทำให้ MIS มีความยืดหยุ่นในการสร้างสารสนเทศให้กับ ผู้บริหารตามความต้องการ สารสนเทศที่ได้จะเกี่ยวข้องกับการสรุปผลการดำเนินงานที่ได้จาก TPS จะมีการพิมพ์รายงานสรุปว่าสินค้าอะไรบ้างที่ขายช้าหรือขายเร็วและส่วนของคลังสินค้าก็จะรู้ว่า ต้องสั่งสินค้าอะไรเพิ่มเข้ามาใหม่ ดังนั้น MIS เป็นการสร้างสารสนเทศที่จำเป็นต่อการจัดการในงานต่าง ๆ มีการวางแผนขั้นแรกในระดับการควบคุม และตัดสินใจของผู้บริหารในงานทั่ว ๆ ไป โดยจะใช้สารสนเทศที่ได้จาก TPS บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการเชื่อมต่อระบบ MIS ก็คือผู้บริหาร ผู้บริหารจะคอยรับทราบและทำความเข้าใจถึงภาพรวมและแนวโน้มว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับบริษัท สถานะการเงินเป็นอย่างไร สภาพตลาดเป็นอย่างไรมีกำลังการผลิตมากน้อยเพียงใดรวมถึงผลกระทบหรือปัญหาที่เกิดขึ้นตลอดจนโอกาสต่าง ๆ ทางธุรกิจมีแนวโน้มเป็นอย่างไร จากนั้นจึงนำสิ่งที่ได้รับจากการรายงานข้างต้นมาพิจารณาวางแผนและดำเนินการต่อไปMIS จะอยู่ในระดับกลางขององค์กร คือ เป็นระดับของการจัดการ ทั้งทางด้านการจัดการขาย การควบคุมกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ ของระดับปฏิบัติงาน เช่น นำข้อมูลของวันนี้มาเปรียบเทียบกับข้อมูลของเดือนที่ผ่านมาหรือย้อนหลัง เดือน แล้วนำมาสรุปในอยู่ในรูปของกราฟหรือรายงาน นอกจากนี้ผู้บริหารยังใช้สารสนเทศที่ได้จาก TPS มาวิเคราะห์กาความผิดพลาดหรือหาความก้าวหน้าในการทำงาน โดยอาจใช้ข้อมูลทางสถิติเปรียบเทียบผลที่ได้จากการปกิบัติจริงกับค่าประมาณ ที่วางแผนไว้ แล้วจึงส่งต่อไปยังผู้บริหารระดับสูง เพื่อผู้บริหารระดับสูงจะได้นำสารสนเทศที่ได้ไปใช้ในการกำหนดนโยบาย หรือวงแผนระบบงานต่อไป

DSS
ระบบสนับสนุนการตัดสิน (DSS : Decision Support Systems) เป็นระบบที่เป็นการทำงานแบบกึ่งโครงสร้าง มีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทำหน้าที่ในการอำนวยความสะดวกในการจัดรูปแบบข้อมูลการนำมาใช้และการรายงานข้อมูลเพื่อที่จะใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ ของผู้บริหารระดับต่าง ๆ (ประสงค์ ประณีตพลกรังและคณะ.
2541 ; 16) 
ในระดับนี้จำเป็นต้องอาศัยสารสนเทศจาก TPS และ MIS แบบสรุปมาใช้ประกอบการตัดสินใจ DSS แตกต่างจากระบบอื่น ๆ คือ เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นต่อการตัดสินใจ และมีการตอบสนองอย่างรวดเร็วต่อสถานการณ์ต่าง ๆ เป็นระบบที่สนับสนุนความต้องการเฉพาะของผู้บริหารแต่ละคนข้อแตกต่างระหว่าง DSS กับ MIS มีดังนี้

MIS 
สามารถให้สารสนเทศได้เฉพาะสารสนเทศที่มีอยู่แล้ว ไม่สามารถจัดสารสนเทศใหม่ทันทีทันใด MIS ใช้กับปัญหาแบบมีโครงสร้าง เช่น ในระบบสินค้าคงคลังเมื่อไรจึงจะสั่งวัตถุเพิ่ม และต้องสั่งเท่าไร ซึ่งเป็นลักษณะของปัญหาที่เกิดประจำในระดับปฏิบัติการ การตัดสินในจะขึ้นอยู่กับความต้องการในการผลิต ราคาต้นทุนวัตถุดิบและตัวแปรอื่น ๆ ที่ต้องใช้ในระบบสินค้าคงคลัง
DSS 
ได้ถูกออกแบบเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง ปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างซึ่งเป็นปัญหาที่ส่วนเป็นแบบมีโครงสร้าง และส่วนหนึ่งเป็นแบบไม่มีโครงสร้าง เช่น ความต้องการปรับปรุงคุณภาพการส่งสินค้าของพ่อค้า ปัญหาแบบมีโครงสร้างได้แก่ การเปรียบเทียบสารสนเทศในการส่งของอย่างตรงเวลาของพ่อค้า
ในช่วง ปีที่ผ่านมา ซึ่งสามารถได้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลของ MIS และปัญหาแบบไม่มีโครงสร้างได้แก่ สถานการณ์ที่ทำให้ไม่สามารถส่งสินค้าได้ เกี่ยวกับนโยบายการสั่งซื้อสินค้า ราคาสินค้า
และอื่น ๆ ปัญหาดังกล่าวต้องใช้ DSS ช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ นอกจากนี้ DSS จะอยู่ในรูปแบบที่ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับผู้บริหารแต่ละคน เป็นระบบที่ถูกแบบขึ้นมาเพื่อช่วยผู้บริหารใน
การตัดสินใจ ภายใต้ผลสรุป และเปรียบเทียบข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกแหล่งข้อมูลภายในเป็นข้อมูลที่ไมาจากฐานข้อมูลภายในองค์กร เช่น การขาย การผลิต ฐานะทางการเงิน
ขององค์กร แหล่งข้อมูลภายนอก ได้แก่ กระแสการเงิน กระแสการลงทุนในตลาดหุ้น ภาวะเศรษฐกิจ ข้อมูลของบริษัทคู่แข่ง DSS มักจะใช้ภาษาสืบค้น (Query Language) ใช้การวิเคราะห์ทางสถิติ ใช้ภาพกราฟิก เพื่อให้ผู้บริหารได้รับสารสนเทศที่ต้องการจริง ๆ ช่วยในการตัดสินใจ นอกจากนี้ยังสามารถช่วยผู้บริหารสร้างตัวแบบ (Model)ของตัวแปรต่าง ๆ ที่จะมีผลกระทบต่อการตัดสินใจ ซึ่งตัวแบบนี้ถ้าเปลี่ยน ตัวแปร 1ตัวหรือมากกว่า จะทำให้ผลกระทบเปลี่ยนไปโดยตัวแบบจะรวมเอาแฟคเตอร์ (Factor) ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาเปรียบเทียบ ผลที่เกิดขึ้นเพื่อให้ผู้บริหารทำการตัดสินใจ ตัวแบบที่สร้างขึ้นง่ายต่อการใช้ การดึงข้อมูลและการทำรายงาน ผู้บริหารสามารถสร้างสารสนเทศที่คิดว่ามีประโยชน์เพื่อช่วยในการตัดสินใจได้เป็นอย่างดี
DSS 
เป็นระบบสารสนเทศแบบโต้ตอบได้ ช่วยในการตัดสินใจของคน ช่วยในการวิเคราะห์งานได้ดีโดยช่วยให้คนรู้จักข้อมูลและรู้จักใช้ตัวแบบ (Model) ของคอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหา ช่วยผู้บริหารในการทดสอบทางเลือกเพื่อตัดสินใจ ทำให้ทราบว่าการเลือกทางเลือกนั้นจะเกิดอะไรขึ้น ีการนำสารสนเทศที่เตรียมได้จากระดับล่างขององค์กรและสารสนเทศภายนอก มาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อให้ได้ผลใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด สามารถทำนายแนวโน้มของตลาดได้ ทำให้การตัดสินใจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลักษณะการตัดสินในระดับนี้ จะค่อนข้างยุ่งยากซับซ้อนมากกว่าการตัดสินใจในระดับล่าง

การจัดการความรู้ คือะไร


การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)

          การจัดการความรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ
          1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม
          2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม

          นพ.วิจารณ์ พานิช ได้ให้ความหมายของคำว่า “การจัดการความรู้” ไว้ คือ สำหรับนักปฏิบัติ การจัดการความรู้คือ เครื่องมือ เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่
          1. บรรลุเป้าหมายของงาน
          2. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน
          3. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้ และ
          4. บรรลุความเป็นชุมชน เป็นหมู่คณะ ความเอื้ออาทรระหว่างกันในที่ทำงาน

          การจัดการความรู้เป็นการดำเนินการอย่างน้อย 6 ประการต่อความรู้ ได้แก่

          (1) การกำหนดความรู้หลักที่จำเป็นหรือสำคัญต่องานหรือกิจกรรมของกลุ่มหรือองค์กร
          (2) การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ
          (3) การปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรู้บางส่วน ให้เหมาะต่อการใช้งานของตน
          (4) การประยุกต์ใช้ความรู้ในกิจการงานของตน
          (5) การนำประสบการณ์จากการทำงาน และการประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสกัด “ขุมความรู้” ออกมาบันทึกไว้
          (6) การจดบันทึก “ขุมความรู้” และ “แก่นความรู้” สำหรับไว้ใช้งาน และปรับปรุงเป็นชุดความรู้ที่ครบถ้วน ลุ่มลึกและเชื่อมโยงมากขึ้น เหมาะต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น
           โดยที่การดำเนินการ 6 ประการนี้บูรณาการเป็นเนื้อเดียวกัน ความรู้ที่เกี่ยวข้องเป็นทั้งความรู้ที่ชัดแจ้ง อยู่ในรูปของตัวหนังสือหรือรหัสอย่างอื่นที่เข้าใจได้ทั่วไป (Explicit Knowledge) และความรู้ฝังลึกอยู่ในสมอง (Tacit Knowledge) ที่อยู่ในคน ทั้งที่อยู่ในใจ (ความเชื่อ ค่านิยม) อยู่ในสมอง (เหตุผล) และอยู่ในมือ และส่วนอื่นๆ ของร่างกาย (ทักษะในการปฏิบัติ) การจัดการความรู้เป็นกิจกรรมที่คนจำนวนหนึ่งทำร่วมกันไม่ใช่กิจกรรมที่ทำโดยคนคนเดียว เนื่องจากเชื่อว่า “จัดการความรู้” จึงมีคนเข้าใจผิด เริ่มดำเนินการโดยรี่เข้าไปที่ความรู้ คือ เริ่มที่ความรู้ นี่คือความผิดพลาดที่พบบ่อยมาก การจัดการความรู้ที่ถูกต้องจะต้องเริ่มที่งานหรือเป้าหมายของงาน เป้าหมายของงานที่สำคัญ คือ การบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินการตามที่กำหนดไว้ ที่เรียกว่า Operation Effectiveness และนิยามผลสัมฤทธิ์ ออกเป็น 4 ส่วน คือ
         (1) การสนองตอบ (Responsiveness) ซึ่งรวมทั้งการสนองตอบความต้องการของลูกค้า สนองตอบความต้องการของเจ้าของกิจการหรือผู้ถือหุ้น สนองตอบความต้องการของพนักงาน และสนองตอบความต้องการของสังคมส่วนรวม
         (2) การมีนวัตกรรม (Innovation) ทั้งที่เป็นนวัตกรรมในการทำงาน และนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์หรือบริการ
         (3) ขีดความสามารถ (Competency) ขององค์กร และของบุคลากรที่พัฒนาขึ้น ซึ่งสะท้อนสภาพการเรียนรู้ขององค์กร และ
         (4) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ซึ่งหมายถึงสัดส่วนระหว่างผลลัพธ์ กับต้นทุนที่ลงไป การทำงานที่ประสิทธิภาพสูง หมายถึง การทำงานที่ลงทุนลงแรงน้อย แต่ได้ผลมากหรือคุณภาพสูง เป้าหมายสุดท้ายของการจัดการความรู้ คือ การที่กลุ่มคนที่ดำเนินการจัดการความรู้ร่วมกัน มีชุดความรู้ของตนเอง ที่ร่วมกันสร้างเอง สำหรับใช้งานของตน คนเหล่านี้จะสร้างความรู้ขึ้นใช้เองอยู่ตลอดเวลา โดยที่การสร้างนั้นเป็นการสร้างเพียงบางส่วน เป็นการสร้างผ่านการทดลองเอาความรู้จากภายนอกมาปรับปรุงให้เหมาะต่อสภาพของตน และทดลองใช้งาน จัดการความรู้ไม่ใช่กิจกรรมที่ดำเนินการเฉพาะหรือเกี่ยวกับเรื่องความรู้ แต่เป็นกิจกรรมที่แทรก/แฝง หรือในภาษาวิชาการเรียกว่า บูรณาการอยู่กับทุกกิจกรรมของการทำงาน และที่สำคัญตัวการจัดการความรู้เองก็ต้องการการจัดการด้วย

ตั้งเป้าหมายการจัดการความรู้เพื่อพัฒนา
        งาน พัฒนางาน
         คน พัฒนาคน
        องค์กร เป็นองค์กรการเรียนรู้
       ความเป็นชุมชนในที่ทำงาน การจัดการความรู้จึงไม่ใช่เป้าหมายในตัวของมันเอง นี่คือ หลุมพรางข้อที่ 1 ของการจัดการความรู้ เมื่อไรก็ตามที่มีการเข้าใจผิด เอาการจัดการความรู้เป็นเป้าหมาย ความผิดพลาดก็เริ่มเดินเข้ามา อันตรายที่จะเกิดตามมาคือ การจัดการความรู้เทียม หรือ ปลอม เป็นการดำเนินการเพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่ามีการจัดการความรู้ การริเริ่มดำเนินการจัดการความรู้ แรงจูงใจ การริเริ่มดำเนินการจัดการความรู้เป็นก้าวแรก ถ้าก้าวถูกทิศทาง ถูกวิธี ก็มีโอกาสสำเร็จสูง แต่ถ้าก้าวผิด ก็จะเดินไปสู่ความล้มเหลว ตัวกำหนดที่สำคัญคือแรงจูงใจในการริเริ่มดำเนินการจัดการความรู้

การจัดการความรู้ที่ดีเริ่มด้วย
     สัมมาทิฐิ : ใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุความสำเร็จและความมั่นคงในระยะยาว
     การจัดทีมริเริ่มดำเนินการ
     การฝึกอบรมโดยการปฏิบัติจริง และดำเนินการต่อเนื่อง
     การจัดการระบบการจัดการความรู้
   
     แรงจูงใจในการริเริ่มดำเนินการจัดการความรู้ แรงจูงใจแท้ต่อการดำเนินการจัดการความรู้ คือ เป้าหมายที่งาน คน องค์กร และความเป็นชุมชนในที่ทำงานดังกล่าวแล้ว เป็นเงื่อนไขสำคัญ ในระดับที่เป็นหัวใจสู่ความสำเร็จในการจัดการความรู้ แรงจูงใจเทียมจะนำไปสู่การดำเนินการจัดการความรู้แบบเทียม และไปสู่ความล้มเหลวของการจัดการความรู้ในที่สุด แรงจูงใจเทียมต่อการดำเนินการจัดการความรู้ในสังคมไทย มีมากมายหลายแบบ ที่พบบ่อยที่สุด คือ ทำเพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่าทำ ทำเพราะถูกบังคับตามข้อกำหนด ทำตามแฟชั่นแต่ไม่เข้าใจความหมาย และวิธีการดำเนินการ จัดการความรู้อย่างแท้จริง

องค์ประกอบสำคัญของการจัดการความรู้ (Knowledge Process)
     1. “คน” ถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดเพราะเป็นแหล่งความรู้ และเป็นผู้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
     2.“เทคโนโลยี” เป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บ แลกเปลี่ยน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้อย่างง่าย และรวดเร็วขึ้น
     3. “กระบวนการความรู้” นั้น เป็นการบริหารจัดการ เพื่อนำความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุง และนวัตกรรม
     องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนนี้ จะต้องเชื่อมโยงและบูรณาการอย่างสมดุล การจัดการความรู้ของกรมการปกครอง จากพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 กำหนดให้ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราขการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมะสมต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน ขอบเขต KM ที่ได้มีการพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความสำคัญเร่งด่วนในขณะนี้ คือ การจัดการองค์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนเชิงบูรณาการ และได้กำหนดเป้าหมาย (Desired State) ของ KM ที่จะดำเนินการในปี 2549 คือมุ่งเน้นให้อำเภอ/กิ่งอำเภอ เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนเชิงบูรณาการในพื้นที่ที่เป็นประโยชน์แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยมีหน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม คือ อำเภอ/กิ่งอำเภอ มีข้อมูลผลสำเร็จ การแก้ไขปัญหาความยากจนเชิงบูรณาการในศูนย์ปฏิบัติการฯ ไม่น้อยกว่าศูนย์ละ 1 เรื่อง และเพื่อให้เป้าหมายบรรลุผล ได้จัดให้มีกิจกรรมกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) และกิจกรรมกระบวนการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) ควบคู่กันไป โดยมีความคาดหวังว่าแผนการจัดการความรู้นี้จะเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญสู่การปฏิบัติราชการในขอบเขต KM และเป้าหมาย KM ในเรื่องอื่น ๆ และนำไปสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ยั่งยืน ต่อไป

การบริหารงานแบบ TQM และ BPR แตกต่างกันอย่างไร


TQM คืออะไร TQM เป็นศัพท์ทางการบริหารงานคุณภาพคำไม่ที่นำมาใช้แทนคำเดิมคือ TQC (Total Quality Control) ซึ่งนับว่าไม่ได้มีความหมายแตกต่างจากเดิมมากนัก เว้นเสียแต่มีมุมมองที่เป็นระบบมากขึ้น

โดยความรวมแล้ว TQM ก็คือ แนวทางในการบริหารงานที่มุ่งเน้นคุณภาพโดยที่สมาชิกหรือพนักงานทุกคนในองค์การมีส่วนร่วมและมุ่งหมายต่อผลงานที่ระยะยาว โดยผลงานที่มุ่งนั้น เน้นไปที่ความพึงพอใจของลูกค้า รวมทั้งสร้างผลประโยชน์ต่อสมาชิกทุกคนในองค์กร

โดยความหมายประการนี้ TQM จึงมีองค์ประกอบ 3 เรื่อง คือ

1) การมุ่งเน้นคุณภาพ (Quality Orientation) โดยคุณภาพที่เน้นนั้นก็มุ่งให้เกิดความพึงพอใจต่อสินค้าหรือบริการที่ให้ต่อลูกค้าเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าภายในหรือลูกค้าภายนอก ซึ่งประการแรกนั้น เราจะต้องทราบความต้องการของลูกค้าให้ถูกต้องและครบถ้วนเสียก่อน เมื่อทราบแล้ว องค์กรก็ต้องจัดแจงให้พนักงานในสังกัดได้ทราบและตระหนักถึงความต้องการของลูกค้าที่เรามุ่งตอบสนอง จากนั้นก็จะนำความต้องการนี้มากำหนดเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน

2) ทุกคนมีส่วนร่วมและทำงานเป็นทีม (Total Involvement and Teamwork) ที่พนักงานในองค์การทุกคนจะต้องร่วมกันสร้าง และผู้บริหารเองก็ต้องมุ่งสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงานและทำงานเป็นทีม (Team-oriented)ในขณะหนึ่ง ผู้บริหารเองก็ต้องให้ความสำคัญร่วมมือกับพนักงานอย่างจริงจังด้วย

3) แก้ไขปัญหาและปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง (Trouble Service and Continuous Improvement) เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างสอดรับกับสถานการณ์ และนำการเปลี่ยนแปลงนั้นมาเป็นข้อมูลเพื่อการปรับปรุงงานให้สามารถดำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง โดยที่สำคัญจะใช้เป็นข้อมูลสำหรับการกำหนดและปรับปรุงวิธีการทำงานด้วย

ตรวจสอบ 3 สิ่งก่อนเริ่มการจัดการในแบบ TQM

หากดูจากตำราและประสบการณ์ของนักบริหารงานที่นำระบบการบริหารงานคุณภาพทั่วทั้งองค์กรหรือ TQM มาใช้ จะเห็นได้ว่า ก่อนที่เราจะเริ่มกิจกรรมทั้งปวงของ TQM เราจะทำการสำรวจตรวจสอบ 3 สิ่งดังนี้

1) ตรวจสอบความชัดเจนของวัตถุประสงค์ของงานและดูว่างานนั้นบรรลุวัตถุประสงค์ของงานหรือไม่

2) ทบทวนว่างานที่เราทำนั้น มีประสิทธิภาพหรือไม่ และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นอย่างไร

3) ทบทวนว่ากิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นงานในความรับผิดชอบของเรามีการปฏิบัติที่เป็นไปอย่างต่อเนื่องหรือไม่ เช่น เมื่อเกิดปัญหาลูกค้าร้องเรียน เรามีวิธีการหรือกิจกรรมที่จะจัดการกับข้อร้องเรียนนั้นอย่างไร และเรามีการใช้วิธีหรือรูปแบบการจัดการกับข้อร้องเรียนของลูกค้าอย่างไร โดยหากไม่มีในปัจจุบัน ก็จะต้องเริ่มดำเนินการกันแล้ว

โดยทั่วไป การสำรวจตรวจสอบ 3 สิ่งนี้ องค์การต่าง ๆ มักให้พนักงานที่ทำงานในหน่วยงานได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันผ่านกิจกรรมเสวนากลุ่ม (Group Discussion) จากนั้นจึงสรุปเพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนจัดทำกิจกรรมที่เป็นองค์ประกอบของ TQM ที่จะดำเนินการกันต่อไป การใช้กิจกรรมเสวนากลุ่มนี้ นับได้ว่าเป็นรูปแบบหนึ่งที่มุ่งให้เกิดบรรยากาศของการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งจะมีกระดมสมองระหว่างกันของพนักงาน ซึ่งจะสร้างบรรยากาศของการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)และองค์การแห่งการเรียนรู้นี้เอง เชื่อว่าเป็นพื้นฐานความสำเร็จของการทำกิจกรรม TQM ขององค์กร
BPR คืออะไร
Business Process Reengineering หรือ Business Process Redisign หรือที่เรียกย่อๆว่า BPR นั้นคือความพยายามเชิงการจัดการ ที่มีความมุ่งหมายเพื่อยกระดับประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของกระบวนการทำงานขององค์กรตลอดทั้งระบบ วิธีการนั้นก็แสนจะง่าย เพียงมองกลับไปมองที่ระบบการทำงานขององค์กร เดเวนพอร์ท (1993) หนึ่งในผู้ก่อตั้ง BRP ชี้ว่า วิธีการ Reengineering นั้นจะต้องคิดหารูปแบบใหม่ในวิธีการทำงาน, กิจกรรมที่จำเป็นต้องทำจริงจริง และการนำเอาคน, วิทยาการ และองค์กร มาประสานเข้าด้วยกัน

การบริหารงานแบบTQM และBPR คืออะไรและแตกต่างกันอย่างไร                             TQMคือ T (Total) : การยินยอมให้ทุกคนปฏิบัติงานอยู่ภายในองค์การได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดตั้งและบริหารงานระบบคุณภาพ ซึ่งเกี่ยวกับทั้งลูกค้าภายนอก (external customer) และลูกค้าภายใน (internal customer) โดยตรง

                Q (Quality) : การสร้างความพึงพอใจของลูกค้าต่อการใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเป็นหลัก นอกจากนี้คุณภาพยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับแนวความคิดเชิงระบบของการจัดการ (systematic approach of management) กล่าวคือ การกระทำสิ่งใด ๆ อย่างเป็นระบบที่ต่อเนื่องและตรงตามแนวความคิดดั้งเดิมของวงจรคุณภาพที่เรียกว่า PDCA cycle ซึ่งเสนอรายละเอียดโดย W.Edwards Deming
                     เพราะฉะนั้นถ้าหมุนวงจรคุณภาพเช่นนี้อย่างต่อเนื่องขึ้นภายในแต่ละหน่วยงานย่อยขององค์การหนึ่ง ๆ ก็ย่อมจะเกิดระบบคุณภาพโดยรวมทั้งหมดที่เรียกว่า TQM ขึ้นมาได้ในประการสุดท้าย          M (Management) : ระบบของการจัดการหรือบริหารคุณภาพขององค์การ ซึ่งดำเนินการและควบคุมด้วยระดับผู้บริหารสูงสุด ซึ่งประกอบด้วย วิสัยทัศน์ (vision) การประกาศพันธกิจหลัก (mission statement) และกลยุทธ์ของการบริหาร (strateship management) รวมถึงการแสดงสภาวะของความเป็นผู้นำ (leadership) ที่จะมุ่งมั่นปรับปรุงและพัฒนาระบบคุณภาพขององค์การอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องตลอดระยะเวลา (continuous quality improvement)



โดยสรุป   คือเป็นระบบการจัดการที่เน้นมนุษย์ (a peple-focused management system) กล่าวคือ เป็นกระบวนการทางวัฒนธรรมที่มุ่งเปลี่ยนแปลงคนทั้งหมดในองค์การ เพื่อให้หันมาสนใจปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายสูงสุด คือการสร้างความเป็นเลิศในระดับโลก TQM มีความหมายหลายอย่างในตัวเอง กล่าวคือเป็นทั้งกลยุทธ์ เทคนิค ระบบการจัดการ รวมไปถึงปรัชญาและเครื่องมือในการแก้ปัญหาขององค์การ สาเหตุที่ TQM มีความสำคัญก็เพราะการเปลี่ยนแปลงทางด้านการผลิต  การตลาด และการเงิน เนื่องจากองค์การต้องการพัฒนาประสิทธิภาพเพื่อต่อสู้กับการแข่งขัน โดยมีกระแสโลกาภิวัตน์เป็นตัวเร่งตลาดและการแข่งขันเปิดกว้างออกอย่างไร้พรมแดน องค์การต้องหาทางลดต้นทุนและเพิ่มคุณภาพ เพื่อเอาตัวรอดและสร้างความเจริญก้าวหน้า ประกอบกับมีตัวอย่างความสำเร็จของ TQM จากกิจการต่าง ๆ ทั้งในประเทศญี่ปุ่น ประเทศตะวันตกและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก(เรืองวิทย์
       BPR  คือ
  Business Process Reengineering เป็นการออกแบบกระบวนการหลักของธุรกิจ(Core business process)ขึ้นมาใหม่โดยไม่มีเค้าโครงร่างเดิมอยู่เลย เพื่อก่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างรวดเร็วแก่ ผลิตผล ระยะเวลาในการผลิต และคุณภาพ องค์กรที่ใช้เครื่องมือนี้จะเริ่มด้วยกระดาษแผ่นหนึ่งและเริ่มคิดถึงกระบวนการต่าง ๆ ที่มีอยู่เดิมเพื่อให้สามารถก่อให้เกิดคุณค่ากับลูกค้ามากขึ้น จากนั้นจะสร้างระบบคุณค่าใหม่ขึ้นมา เพื่อเพิ่มการเน้นความสำคัญลงไปที่สิ่งต่าง ๆ ที่ลูกค้าต้องการ จะลดลำดับชั้นขององค์กรให้น้อยลงและขจัดกิจกรรมใด ๆ ที่ไม่ก่อให้เกิดผลิตผลออกไป มุ่งเน้นที่สองพื้นที่นี้คือ ออกแบบฟังก์ชันขององค์กรใหม่ให้เป็นแบบกลุ่มข้ามสายงาน (cross-functional teams) และใช้เทคโนโลยีการเพื่อกระจายข้อมูลและทำการตัดสินใจ
 
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=539174


ธนาคารใช้อะไรในการสื่อสาร

การใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการเงินการธนาคาร           ในการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานธนาคารนั้น แต่ละธนาคารอาจระบุวัตถุประสงค์แตกต่างกันออกไป เช่น บางธนาคารนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อเปลี่ยนทัศนคติของประชาชนต่อธนาคารนั้น จากธนาคารโบราณมาเป็นธนาคารทันสมัย บางธนาคารนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อพยายามดำรงความเป็นผู้นำในด้านเทคโนโลยี บางธนาคารนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อให้สามารถขยายงานได้รวดเร็ว และควบคุมการบริหารงานให้รัดกุมขึ้น เป็นต้น
         โดยสรุปแล้ว อาจจะกล่าวได้ว่าสถาบันการเงินต่างๆทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้แข่งขันกันนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อประโยชน์สำคัญ ๓ ประการ คือ ประการที่ ๑ เพื่อช่วยให้บริการลูกค้าประจำได้สะดวกรวดเร็ว ประการที่ ๒ เพื่อให้สามารถเสนอบริการใหม่ๆ ในรูปแบบและเวลาที่ลูกค้าประจำต้องการ และให้ลูกค้าประจำสามารถเข้าใจได้โดยง่าย  และประการที่ ๓ เพื่อช่วยให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์สองข้อแรกโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายมากเกินไป
         งานสถาบันการเงินการธนาคารที่นำคอมพิวเตอร์มาช่วยนั้น นอกจากด้านการบัญชีและด้านการบริหาร ซึ่งอาจคล้ายคลึงกับการใช้คอมพิวเตอร์ในหน่วยงานอื่นๆ แล้ว ก็มีงานโดยตรงของสถาบันการเงินและการธนาคาร เช่น  การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการฝากถอน  หรือพนักงานรับและจ่ายเงิน (teller) ใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ การหักบัญชีอัตโนมัติ ด้านสินเชื่อ ด้านแลกเปลี่ยนเงินตรา บริการข่าวสารการธนาคาร บริการฝากถอนเงินนอกเวลา และบริการอื่นๆ
         
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในบริการฝากถอนนั้น อาจรวมการฝากถอนทุกประเภท เช่น เดินสะพัด เผื่อเรียกสะสม และประจำ เป็นต้น โดยมีเทอร์มินัลติดตั้งอยู่ที่โต๊ะพนักงานฝากถอน เมื่อลูกค้ามาฝากหรือถอน พนักงานก็สามารถใช้เทอร์มินัลสอบถามสถานภาพบัญชีและลงบัญชีได้สะดวกรวดเร็ว
         
การใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์มีประโยชน์สำคัญ ๓ ประการคือ ประการแรก เพื่อลดต้นทุน   โดยตัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับกระดาษ ประการที่ ๒ เพื่อความปลอดภัยในการโอนเงิน โดยป้องกันเช็คสูญหายหรือการปลอมแปลงเช็ค  และประการที่ ๓  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ โดยทำให้สามารถโอนเงินได้ภายในเวลาเพียงไม่กี่นาที แทนที่จะต้องเสียเวลานานเป็นวัน
          การใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์นี้ อาจจะทำได้ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ เช่น ระบบโอนเงินข้ามประเทศ หรือระบบสวิฟต์ (swift; societyfor worldwide interbank financial telecommunication) มีสมาชิกกว่า ๑,๑๐๐ ธนาคารในกว่า ๕๐ ประเทศ

Bangkok Bank Application (App ธนาคารกรุงเทพ) : แอพ Bangkok Bank Application หรือ App ธนาคารกรุงเทพ เป็นแอพพลิเคชั่นสำหรับผู้ใช้ Windows 8 เหมาะสำหรับลูกค้า ธนาคารกรุงเทพ หรือ ผู้ที่สนใจทั่วไป สามารถดาวน์โหลดเพื่อติดตามอัพเดทข่าวสารของ ธนาคารกรุงเทพ ซึ่งรวมถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ โปรโมชั่นต่างๆ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก-เงินกู้ ราคาหุ้น ราคาหน่วยลงทุน และที่ตั้งสาขา/ จุดบริการของธนาคาร
App ธนาคารกรุงเทพ ยังสามารถตรวจดู อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก-เงินกู้ ราคาหุ้น อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ราคาหน่วยลงทุน เครื่องคำนวณต่างๆ ค้นหา สาขาธนาคารกรุงเทพ ใกล้คุณ ค้นหาตู้ ATM (เอทีเอ็ม)  สาขา บูทแลกเปลี่ยนเงินตรา โอนเงินต่างประเทศ

โปรแกรม (Program Developer)

ธนาคารใช้อะไรในการสื่อสาร

ชำระค่าสินค้าแบบโอนเงินผ่านธนาคารหรือโอนผ่าน ATM สามารถโอนเข้าบัญชีได้เลย โอนผ่านระบบออนไลน์อินเตอร์เน็ต กดที่นี้
 ขั้นตอนการโอนผ่านอินเตอร์เน็ต ธนาคารไทยพาณิชย์
  
                ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก
ชำระค่าสินค้าแบบโอนเงินผ่านธนาคารหรือโอนผ่าน ATM สามารถโอนเข้าบัญชีได้เลย โอนผ่านระบบออนไลน์อินเตอร์เน็ต กดที่นี้
 ขั้นตอนการโอนผ่านอินเตอร์เน็ต ธนาคารไทยพาณิชย์
  
                ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก


ชำระค่าสินค้าแบบโอนเงินผ่านธนาคารหรือโอนผ่าน ATM สามารถโอนเข้าบัญชีได้เลย โอนผ่านระบบออนไลน์อินเตอร์เน็ต กดที่นี้
 ขั้นตอนการโอนผ่านอินเตอร์เน็ต ธนาคารไทยพาณิชย์
  
                ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก
ชำระค่าสินค้าแบบโอนเงินผ่านธนาคารหรือโอนผ่าน ATM สามารถโอนเข้าบัญชีได้เลย โอนผ่านระบบออนไลน์อินเตอร์เน็ต กดที่นี้
 ขั้นตอนการโอนผ่านอินเตอร์เน็ต ธนาคารไทยพาณิชย์
  
                ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก
ชำระค่าสินค้าแบบโอนเงินผ่านธนาคารหรือโอนผ่าน ATM สามารถโอนเข้าบัญชีได้เลย โอนผ่านระบบออนไลน์อินเตอร์เน็ต กดที่นี้
 ขั้นตอนการโอนผ่านอินเตอร์เน็ต ธนาคารไทยพาณิชย์
  
                ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก
ชำระค่าสินค้าแบบโอนเงินผ่านธนาคารหรือโอนผ่าน ATM สามารถโอนเข้าบัญชีได้เลย โอนผ่านระบบออนไลน์อินเตอร์เน็ต กดที่นี้
 ขั้นตอนการโอนผ่านอินเตอร์เน็ต ธนาคารไทยพาณิชย์
  
                ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก
ชำระค่าสินค้าแบบโอนเงินผ่านธนาคารหรือโอนผ่าน ATM สามารถโอนเข้าบัญชีได้เลย โอนผ่านระบบออนไลน์อินเตอร์เน็ต กดที่นี้
 ขั้นตอนการโอนผ่านอินเตอร์เน็ต ธนาคารไทยพาณิชย์
  
                ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก
ชำระค่าสินค้าแบบโอนเงินผ่านธนาคารหรือโอนผ่าน ATM สามารถโอนเข้าบัญชีได้เลย โอนผ่านระบบออนไลน์อินเตอร์เน็ต กดที่นี้
 ขั้นตอนการโอนผ่านอินเตอร์เน็ต ธนาคารไทยพาณิชย์
  
                ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก
ชำระค่าสินค้าแบบโอนเงินผ่านธนาคารหรือโอนผ่าน ATM สามารถโอนเข้าบัญชีได้เลย โอนผ่านระบบออนไลน์อินเตอร์เน็ต กดที่นี้
 ขั้นตอนการโอนผ่านอินเตอร์เน็ต ธนาคารไทยพาณิชย์
  
                ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก



ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก

ชำระค่าสินค้าแบบโอนเงินผ่านธนาคารหรือโอนผ่าน ATM สามารถโอนเข้าบัญชีได้เลย โอนผ่านระบบออนไลน์อินเตอร์เน็ต กดที่นี้
 ขั้นตอนการโอนผ่านอินเตอร์เน็ต ธนาคารไทยพาณิชย์
  
                ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก

ธนาคารทางอินเตอร์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกสบายในยุคโลกการสื่อสารไร้พรมแดน เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการ
เข้าไปใช้บริการหน้าเคาร์เตอร์ หรือหน้าตู้ Atm ซึ่งบางครั้งมีคนใช้บริการจำนวนมาก ธนาคารเกือบทุกธนาคารมีบริการนี้ คุณสามารถ
เปิดบัญชีและกรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการนี้ได้ทั่วประเทศ และความสะดวกสบายอีกทางหนึ่งคือสามารถโอนข้ามธนาคารได้ โดย
ปลายทางผู้รับได้รับเงินทันที โดยเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับหน้าเคาร์เตอร์หรือตู้ Atm ทั่วไป

ข้อดีการใช้ธนาคารทางอินเตอร์
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประหยัดงบเดินทาง และช่วยโลกลดความร้อน (ไม่ต้องมีสลิป)
- ค่าธรรมเนียมถูกกว่า

ข้อเสียของธนาคารอินเตอร์เน็ต
- ไม่สามารถใช้บริการในการถอนเงิน
 
 วิธีการใช้งานธนาคารอินเตอร์เน็ต (I-Banking) ธนาคารไทยพาณิชย์
 ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารหนึงที่ ให้คุณโอนเงินออนไลน์ได้ โดยคุณไม่ต้องไปยื่นเรื่องที่ธนาคาร แค่คุณมีบัตร Atm
ก็สามารถทำธุรกรรมออนไลน์ได้ทันที ค่าธรรมเนียมโอนถูก

การใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการเงินการธนาคาร           
ในการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานธนาคารนั้น แต่ละธนาคารอาจระบุวัตถุประสงค์แตกต่างกันออกไป เช่น บางธนาคารนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อเปลี่ยนทัศนคติของประชาชนต่อธนาคารนั้น จากธนาคารโบราณมาเป็นธนาคารทันสมัย บางธนาคารนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อพยายามดำรงความเป็นผู้นำในด้านเทคโนโลยี บางธนาคารนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อให้สามารถขยายงานได้รวดเร็ว และควบคุมการบริหารงานให้รัดกุมขึ้น เป็นต้น
         โดยสรุปแล้ว อาจจะกล่าวได้ว่าสถาบันการเงินต่างๆทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้แข่งขันกันนำคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อประโยชน์สำคัญ ๓ ประการ คือ ประการที่ ๑ เพื่อช่วยให้บริการลูกค้าประจำได้สะดวกรวดเร็ว ประการที่ ๒ เพื่อให้สามารถเสนอบริการใหม่ๆ ในรูปแบบและเวลาที่ลูกค้าประจำต้องการ และให้ลูกค้าประจำสามารถเข้าใจได้โดยง่าย  และประการที่ ๓ เพื่อช่วยให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์สองข้อแรกโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายมากเกินไป
         งานสถาบันการเงินการธนาคารที่นำคอมพิวเตอร์มาช่วยนั้น นอกจากด้านการบัญชีและด้านการบริหาร ซึ่งอาจคล้ายคลึงกับการใช้คอมพิวเตอร์ในหน่วยงานอื่นๆ แล้ว ก็มีงานโดยตรงของสถาบันการเงินและการธนาคาร เช่น  การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการฝากถอน  หรือพนักงานรับและจ่ายเงิน (teller) ใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ การหักบัญชีอัตโนมัติ ด้านสินเชื่อ ด้านแลกเปลี่ยนเงินตรา บริการข่าวสารการธนาคาร บริการฝากถอนเงินนอกเวลา และบริการอื่นๆ
         
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในบริการฝากถอนนั้น อาจรวมการฝากถอนทุกประเภท เช่น เดินสะพัด เผื่อเรียกสะสม และประจำ เป็นต้น โดยมีเทอร์มินัลติดตั้งอยู่ที่โต๊ะพนักงานฝากถอน เมื่อลูกค้ามาฝากหรือถอน พนักงานก็สามารถใช้เทอร์มินัลสอบถามสถานภาพบัญชีและลงบัญชีได้สะดวกรวดเร็ว
         
การใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์มีประโยชน์สำคัญ ๓ ประการคือ ประการแรก เพื่อลดต้นทุน   โดยตัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับกระดาษ ประการที่ ๒ เพื่อความปลอดภัยในการโอนเงิน โดยป้องกันเช็คสูญหายหรือการปลอมแปลงเช็ค  และประการที่ ๓  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ โดยทำให้สามารถโอนเงินได้ภายในเวลาเพียงไม่กี่นาที แทนที่จะต้องเสียเวลานานเป็นวัน
          การใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์นี้ อาจจะทำได้ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ เช่น ระบบโอนเงินข้ามประเทศ หรือระบบสวิฟต์ (swift; societyfor worldwide interbank financial telecommunication) มีสมาชิกกว่า ๑,๑๐๐ ธนาคารในกว่า ๕๐ ประเทศ

Bangkok Bank Application (App ธนาคารกรุงเทพ) : แอพ Bangkok Bank Application หรือ App ธนาคารกรุงเทพ เป็นแอพพลิเคชั่นสำหรับผู้ใช้ Windows 8 เหมาะสำหรับลูกค้า ธนาคารกรุงเทพ หรือ ผู้ที่สนใจทั่วไป สามารถดาวน์โหลดเพื่อติดตามอัพเดทข่าวสารของ ธนาคารกรุงเทพ ซึ่งรวมถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ โปรโมชั่นต่างๆ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก-เงินกู้ ราคาหุ้น ราคาหน่วยลงทุน และที่ตั้งสาขา/ จุดบริการของธนาคาร

โปรแกรม (Program Developer)